ประวัติ ของ ม.ร.ว.สุขุมพันธ์ บริพัตร
เป็น รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เป็นบุตรของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ (พระโอรสใน จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต) และหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร มีชื่อเล่นว่า "คุณชายหมู"
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับคุณนุชวดี บำรุงตระกูล มีบุตรคือ หม่อมหลวงพินิตพันธุ์ บริพัตร และสมรสกับ คุณสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (ภมรบุตร) มีบุตรคือ หม่อมหลวงวราภินันท์ บริพัตร
ปัจจุบัน ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร พำนักอยู่ที่วังสวนผักกาด และเป็นประธานกรรมการมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์
ภายหลังการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และมีการจัดตั้งรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช พรรคประชาธิปัตย์ที่เป็นฝ่ายค้านพรรคเดียวได้ประกาศจัดตั้ง รัฐบาลเงา หรือ ครม.เงา ขึ้น ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 และ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ได้รับเลือกจากที่ประชุมพรรค ให้ทำหน้าที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเงา
ต่อมาเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 คณะกรรมการบริหารพรรค มีมติส่ง ม.ร.ว.สุขุมพันธ์ เป็นผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะมีการเลือกตั้งในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552
ประวัติการศึกษา
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับคุณนุชวดี บำรุงตระกูล มีบุตรคือ หม่อมหลวงพินิตพันธุ์ บริพัตร และสมรสกับ คุณสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (ภมรบุตร) มีบุตรคือ หม่อมหลวงวราภินันท์ บริพัตร
ปัจจุบัน ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร พำนักอยู่ที่วังสวนผักกาด และเป็นประธานกรรมการมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์
ภายหลังการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และมีการจัดตั้งรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช พรรคประชาธิปัตย์ที่เป็นฝ่ายค้านพรรคเดียวได้ประกาศจัดตั้ง รัฐบาลเงา หรือ ครม.เงา ขึ้น ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 และ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ได้รับเลือกจากที่ประชุมพรรค ให้ทำหน้าที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเงา
ต่อมาเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 คณะกรรมการบริหารพรรค มีมติส่ง ม.ร.ว.สุขุมพันธ์ เป็นผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะมีการเลือกตั้งในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552
ประวัติการศึกษา
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ณ โรงเรียน Cheam (ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าโรงเรียน) และโรงเรียน Rugby ประเทศอังกฤษ (ดำรงตำแหน่ง หัวหน้า House หรือสี และได้รับทุนการศึกษาเรียนดีเด่น) (พ.ศ. 2506-พ.ศ. 2513)
ระดับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับ 2 และปริญญาโท ณ Pembroke College มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ เกียรตินิยม สาขา ปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ (PPE) (พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2520)
ระดับปริญญาโท ณ มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ ประเทศสหรัฐอเมริกาทางด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (พ.ศ. 2521)
ระดับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับ 2 และปริญญาโท ณ Pembroke College มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ เกียรตินิยม สาขา ปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ (PPE) (พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2520)
ระดับปริญญาโท ณ มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ ประเทศสหรัฐอเมริกาทางด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (พ.ศ. 2521)
ประวัติการทำงาน
# รับราชการในตำแหน่งอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2539
# เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2536)
# เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534) และตำแหน่งที่ปรึกษาคณะ กรรมาธิการกิจการรัฐสภา (พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534)
# เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาทางด้านนโยบายของนายกรัฐมนตรี (พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ) (พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2532)
# เคยดำรงตำแหน่งนายกสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2536)
# เคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาการพาณิชย์ฝ่ายต่างประเทศของกระทรวงพาณิชย์ (พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537)
# ประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-เวียดนาม เพื่อศึกษาและเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-เวียดนาม (พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2536)
# ประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-กัมพูชา-ลาว เพื่อศึกษาและเสนอแนะ แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-กัมพูชา-ลาว
# เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาของ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ดร.พิจิตต รัตตกุล) ในคณะกรรมการต่างๆ คือ
* ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
* ประธานคณะกรรมการบริหารกิจการสำนักงานตลาด
* ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการตรวจสอบและป้องกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในวงราชการกรุงเทพมหานคร
* กรรมการที่ปรึกษาด้านกฎหมายและการยุติธรรม
# รับราชการในตำแหน่งอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2539
# เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2536)
# เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534) และตำแหน่งที่ปรึกษาคณะ กรรมาธิการกิจการรัฐสภา (พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534)
# เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาทางด้านนโยบายของนายกรัฐมนตรี (พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ) (พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2532)
# เคยดำรงตำแหน่งนายกสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2536)
# เคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาการพาณิชย์ฝ่ายต่างประเทศของกระทรวงพาณิชย์ (พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537)
# ประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-เวียดนาม เพื่อศึกษาและเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-เวียดนาม (พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2536)
# ประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-กัมพูชา-ลาว เพื่อศึกษาและเสนอแนะ แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-กัมพูชา-ลาว
# เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาของ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ดร.พิจิตต รัตตกุล) ในคณะกรรมการต่างๆ คือ
* ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
* ประธานคณะกรรมการบริหารกิจการสำนักงานตลาด
* ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการตรวจสอบและป้องกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในวงราชการกรุงเทพมหานคร
* กรรมการที่ปรึกษาด้านกฎหมายและการยุติธรรม
ผลงานวิชาการ
- มีผลงานวิจัยและบทความเกี่ยวกับความมั่นคงและความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศมากมาย ซึ่งได้ตีพิมพ์และเผยแพร่ ทั้งในและนอกประเทศ อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศ ญี่ปุ่น ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นต้น อีกทั้ง ได้มีผลงานทางวิชาการร่วมกับนักวิชาการระดับนานาชาติ หลายคน อาทิ Professor Robert Scalapino
- เคยเขียนคอลัมน์ประจำให้แก่ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการราย สัปดาห์ และ หนังสือพิมพ์แนวหน้า
- เคยเขียนคอลัมน์รับเชิญให้แก่นิตยสารต่างประเทศหลายฉบับ รวมถึง Far Eastern Economic Review, The International
Herald Tribune, The Asian Wall Street Journal
- เคยเขียนคอลัมน์ประจำให้แก่ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการราย สัปดาห์ และ หนังสือพิมพ์แนวหน้า
- เคยเขียนคอลัมน์รับเชิญให้แก่นิตยสารต่างประเทศหลายฉบับ รวมถึง Far Eastern Economic Review, The International
Herald Tribune, The Asian Wall Street Journal
เกียรติประวัติ
- ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในร้อยผู้นำระดับโลกในศตวรรษที่ 21 โดยนิตยสาร TIME ในปี พ.ศ. 2538
- ได้รับรางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปี 2546
- ได้รับรางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปี 2546
ตำแหน่งทางสังคม
- ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 ถึงปัจจุบัน)
- กรรมการหรือสมาชิกของสถาบันระดับนานาชาติหลายแห่ง รวมถึง THE ASIA SOCIETY แห่งนครนิวยอร์ก และ สถาบัน นานาชาติเพื่อยุทธศาสตร์ศึกษา (International Institute for
Strategic Studies) แห่งกรุงลอนดอน
- กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแห่งสภากาชาดไทย (เดือน มีนาคม 2549 ถึงปัจจุบัน) - กรรมการมูลนิธิประชาธิปก-รำไพพรรณี
- กรรมการมูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชูปถัมภ์
- ที่ปรึกษามูลนิธิกล้วยไม้ไทย (สิงหาคม 2546 ถึงปัจจุบัน)
- ประธานคณะกรรมการจัดงานรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอด เยี่ยมแห่งอาเซียน หรือ ซีไรต์ (พ.ศ. 2542 ถึงปัจจุบัน) - ประธาน Asian Dialogue Society (พ.ศ. 2547 ถึงปัจจุบัน)
- วิทยากรบรรยายพิเศษให้กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- กรรมการหรือสมาชิกของสถาบันระดับนานาชาติหลายแห่ง รวมถึง THE ASIA SOCIETY แห่งนครนิวยอร์ก และ สถาบัน นานาชาติเพื่อยุทธศาสตร์ศึกษา (International Institute for
Strategic Studies) แห่งกรุงลอนดอน
- กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแห่งสภากาชาดไทย (เดือน มีนาคม 2549 ถึงปัจจุบัน) - กรรมการมูลนิธิประชาธิปก-รำไพพรรณี
- กรรมการมูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชูปถัมภ์
- ที่ปรึกษามูลนิธิกล้วยไม้ไทย (สิงหาคม 2546 ถึงปัจจุบัน)
- ประธานคณะกรรมการจัดงานรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอด เยี่ยมแห่งอาเซียน หรือ ซีไรต์ (พ.ศ. 2542 ถึงปัจจุบัน) - ประธาน Asian Dialogue Society (พ.ศ. 2547 ถึงปัจจุบัน)
- วิทยากรบรรยายพิเศษให้กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2524 ตติยจุลจอมเกล้า (ต.จ.) ฝ่ายหน้าสืบสายสกุล จากพระบิดา พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์
- พ.ศ. 2529 ตริตาภรณ์มงกุฏไทย (ต.ม.)
- พ.ศ. 2531 ทวีติยาภรณ์มงกุฏไทย (ท.ม.)
- พ.ศ. 2535 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
- พ.ศ. 2540 ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.)
- พ.ศ. 2541 มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2542 มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2529 ตริตาภรณ์มงกุฏไทย (ต.ม.)
- พ.ศ. 2531 ทวีติยาภรณ์มงกุฏไทย (ท.ม.)
- พ.ศ. 2535 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
- พ.ศ. 2540 ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.)
- พ.ศ. 2541 มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2542 มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
ประเด็นที่ชอบ ประวัติ ของ ม.ร.ว.สุขุมพันธ์ บริพัตร
เป็นผู้ที่มีความรู้รอบด้านทั้งด้านการศึกษาและยังเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15ของประเทศไทย และยังมีผลงานวิจัยและบทความเกี่ยวกับความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากมายซึ่งได้ตีพิมพ์และเผยแพร่งทั้งในและนอกประเทศ อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศ ญี่ปุ่น ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นต้น อีกทั้ง ได้มีผลงานทางวิชาการร่วมกับนักวิชาการระดับนานาชาติ และท่านสามาทำงานวิจัยได้ จึงทำให้ฉันภาคภูมิใจกับผลงานของท่านเป็นอย่างมาก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น